All articles
-
โลกเดือดเกินขีดจำกัดอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลก 1.5°C เป็นเวลา 12 เดือน – ความเห็นของกรีนพีซ
อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์, 8 กุมภาพันธ์ 2567 – สืบเนื่องจากข้อมูลซึ่งเผยแพร่โดยศูนย์คอเปอร์นิคัสซึ่งเป็นหน่วยงานบริการข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหภาพยุโรปที่แสดงให้เห็นว่า เป็นครั้งแรกที่อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกมีแนวโน้มเกินขีดจำกัด 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับปีฐานในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมโดยเกิดขึ้นตลอดทั้งปีตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ถึงมกราคม 2567
-
ชวนติดตามเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลกปี 2567
ปี 2566 ที่ผ่านมา มีความท้าทายและมีบันทึกสถิติใหม่ว่าด้วยวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ทั้งอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่ร้อนที่สุดเท่าที่เคยมีมานับจากช่วงก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อ 200 ปีก่อน ความสุดขั้วของสภาพอากาศที่ถี่ขึ้น บั่นทอนการพัฒนามนุษย์และก่อความเหลื่อมล้ำทางสังคมมากขึ้น
-
Climate Justice Walk: การเดินทางของผู้คนเพื่อความเป็นธรรมด้านสภาพภูมิอากาศ นักกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศและสิทธิมนุษยชนออกเดินรณรงค์เพื่อความสมานฉันท์เป็นเวลา 30 วัน เพื่อรำลึกครบรอบ 10 ปีไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน
นักกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศและสิทธิมนุษยชนออกเดินรณรงค์เพื่อความสมานฉันท์เป็นเวลา 30 วัน เพื่อรำลึกครบรอบ 10 ปีไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน
-
ความเห็นของกรีนพีซ กรณีเหตุการณ์น้ำท่วมครั้งใหญ่ในกรุงปักกิ่ง
สัปดาห์นี้ ประชาชนกว่า 650,000 คนที่อาศัยอยู่ในเมืองจูโจวทางตอนใต้ของกรุงปักกิ่ง ต้องเผชิญกับเหตุการณ์น้ำท่วมรุนแรงจากเหตุการณ์ฝนตกหนักในปักกิ่ง
-
เรากำลังเผชิญกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว
สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์เตือนเรามาในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาก็คือ พวกเรากำลังเผชิญกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว
-
ทำความรู้จัก Eco-anxiety ความวิตกกังวลจากปัญหาสิ่งแวดล้อม และวิธีมองโลกอย่างมีหวังในวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
อารมณ์โกรธหรือวิตกกังวลเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคือเรื่องปกติ แต่เมื่ออารมณ์เหล่านี้ครอบงำเราจะส่งผลต่อสุขภาพเราได้ นี่คือวิธีรับมือกับความรู้สึกเหล่านี้
-
หากอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกเกิน 2 องศาเซลเซียส จะเป็นจุดพลิกผันที่ทำให้แอนตาร์กติกเปลี่ยนไปตลอดกาล
าที่ผ่านมาวิกฤตในทวีปแอนตาร์กติกยังพอที่จะฟื้นฟูได้ แต่อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นก็ทำให้ธารน้ำแข็งละลายและทำให้มหาสมุทรอุ่นขึ้น ซึ่งหากเราไม่ทำอะไรเลย ทวีปแอนตาร์กติกก็จะไม่สามารถฟื้นฟูกลับมาได้เหมือนเดิม ซึ่งนำไปสู่ผลกระทบระยะยาวต่อสิ่งแวดล้อมและผู้คนในรุ่นต่อ ๆ ไป
-
ชุมชน LGBTQIA2S+ กำลังเจอกับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศมากกว่าคนกลุ่มอื่น
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นนี้เป็นเพราะ กลุ่มคนเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะต้องเผชิญกับความเหลื่อมล้ำ การเหยียดเพศ และความรุนแรง ซึ่งจะกลายเป็นสิ่งที่จำกัดการเข้าถึงทรัพยากรในการรับมือกับสิ่งแวดล้อมและสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยโลกที่สูงขึ้ง
-
นักกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศ ประท้วงกลางมหกรรมซื้อขายเครื่องบินส่วนตัวในยุโรป คัดค้านการปล่อยมลพิษจากกลุ่มคนร่ำรวย
นักกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศกว่าร้อยคนและกลุ่มนักเคลื่อนไหวเพื่อสภาพภูมิอากาศอีกกว่า 17 ประเทศ เข้าประท้วงในมหกรรมการซื้อขายเครื่องบินส่วนตัวที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป
-
ทำไมฤดูร้อนของไทยอากาศร้อนจนแทบอยู่ไม่ได้ ?
ช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมของทุกปี เราสามารถสัมผัสกับอากาศร้อนที่อาจสูงถึง 40°C ในปี 2559 ประเทศไทยต้องเผชิญกับคลื่นความร้อนที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 65 ปี