-
#PrayforAmazonia : เมื่อท้องฟ้าใน เซาธ์ เปาโล มืดมิดเพราะควันไฟ เกิดอะไรขึ้นในป่าของบราซิล
ในปีนี้บราซิลมีไฟป่าเกิดขึ้นมากถึง 72,843 ครั้ง เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันในปี พ.ศ.2561 ถึงร้อยละ 84 ทำให้ปีแรกของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีโบลโซนาโรถูกจับตามองในเรื่องของการทำลายสิ่งแวดล้อม ไฟป่าที่กำลังลุกโซนในพื้นที่บางส่วนของป่าแอมะซอนเผาผลาญป่าอย่างรุนแรงจนทำให้เมืองเซาธ์ เปาโลที่ตั้งอยู่ห่างออกไปจากจุดไฟป่ากว่าหลายพันไมล์ถูกปกคลุมไปด้วยความมืดมิด
-
พลาสติก พะยูน ทะเลไทย ในมุมมองของ ชิน-ศิรชัย อรุณรักษ์ติชัย
เชื่อว่าคนไทยยังคงจดจำภาพมาเรียม พะยูนตัวน้อยดูดครีบจ๊วบ ๆ และกินนมนอนหลับในอ้อมกอดของพี่เลี้ยงได้ดี การจากไปของมาเรียมและสัตว์ทะเลอีกหลายชนิดในช่วงนี้ทำให้ในนัยหนึ่งเกิดเป็นกระแสความหวังด้านการอนุรักษ์สัตว์ทะเล และการลดใช้พลาสติก แต่ในเรื่องราวความสูญเสียเหล่านี้ยังคงมีความหวังอยู่จริงหรือ
-
อาชีพจากพลังงานแสงอาทิตย์ กู้วิกฤตโลกร้อน
เนื่องจากโซลาร์เซลล์นั้นเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานได้ในระยะยาว แน่นอนว่าเมื่อมีการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ขึ้น เราก็จำเป็นต้องดูและรักษาอุปกรณ์และระบบต่างๆให้ดีเพื่อให้โซลาร์เซลล์บนหลังคาของเราผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น อาชีพการติดตั้งและบำรุงรักษาแผงโซลาร์เซลล์จึงเป็นอีกหนึ่งอาชีพใหม่ ที่กำลังขยายตัวลงไปในพื้นที่ต่างๆมากขึ้น
-
Time Square เปลี่ยนไป! เกิดอะไรขึ้นบ้างเมื่อวาฬและสัตว์ทะเลหายากโผล่กลางมหานครนิวยอร์ก
สนธิสัญญาทะเลหลวงถือเป็นหัวใจสำคัญของการรณรงค์เพื่อมหาสมุทรของเรา ซึ่งหากประเทศสมาชิกให้การรับรอง ก็จะช่วยให้มหาสมุทรได้รับการปกป้องจากภัยคุกคามได้ครอบคลุมมากขึ้น
-
“เชื้อดื้อยา” เพชฌฆาตเงียบที่อาจมากับอาหาร
เชื้อดื้อยา เป็นปัญหาที่พบได้ทั่วทุกมุมโลก และเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย แต่มีคนจำนวนไม่น้อยที่ยังมองไม่เห็นถึงภัยคุกคามของเชื้อดื้อยาที่ส่งผลต่อสุขภาพประชากรโลก และการใช้ยาปฏิชีวนะจำนวนมากโดยไม่จำเป็น ทั้งจากการรักษาโรค เพียงแค่เด็กมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย พ่อแม่ก็รีบหายาฆ่าเชื้อมาให้กินแล้ว และการใช้ยาในเกินความจำเป็นในอุตสาหกรรมปศุสัตว์กับการใช้ยาเพื่อป้องกัน ไม่ใช่การรักษา ส่งผลให้วิกฤตเชื้อดื้อยารุนแรง
-
7 สิ่งมหัศจรรย์ในทะเลซาร์กัสโซ กับมลพิษพลาสติกที่ต้องเผชิญ
มลพิษพลาสติกกำลังกระจายตัวไปทั่วโลก และพวกมันกำลังคุกคามเหล่าสิ่งมีชีวิตในทะเลซาร์กัสโซ มหาสมุทรแอตแลนติก
-
กินเนื้อน้อยลง คือทางออกของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ท่ามกลางอัตราการทำลายป่าแอมะซอนที่เพิ่มขึ้นในช่วงนี้ รายงานล่าสุดจากคณะกรรมการ ระหว่างรัฐบาล ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือ IPCC ได้เผยว่า การกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศนั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย หากปราศจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการใช้ป่าและผืนดิน และการปรับเปลี่ยนวิถึการบริโภคของมนุษย์ให้กินเนื้อสัตว์น้อยลง
-
ข้อเสนอของกรีนพีซ กรณี Roadmap การจัดการพลาสติกของประเทศไทย และผลกระทบจากมลพิษพลาสติกต่อสัตว์ป่าและสัตว์ทะเลหายาก
กรุงเทพ, 27 สิงหาคม 2562– จากกรณีการเสียชีวิตของกวางในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตลอดจนสัตว์ทะเลหายากและใกล้สูญพันธุ์รวมถึงพะยูนและเต่าทะเลที่มีสาเหตุหนึ่งจากการกลืนขยะพลาสติกเข้าไปสะสมอยู่ในระบบทางเดินอาหาร[1] ธารา บัวคำศรี ผู้อำนวยการประจำประเทศไทย กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวว่า “ในช่วงเวลาเพียงสองสัปดาห์ ถ้าไม่นับตั้งแต่ช่วงต้นปี 2562 มาจนถึงปัจจุบัน เราสูญเสียสัตว์ทะเลหายากและสัตว์ป่าไปหลายชีวิตจากมลพิษพลาสติก คำถามคือ Roadmap การจัดการพลาสติกของประเทศไทยที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบไปเมื่อเดือนเมษายน 2562 นั้นเพียงพอหรือไม่ที่จะหลีกเลี่ยงมิให้โศกนาฏกรรมดังกล่าวนี้เกิดซ้ำแล้วซ้ำอีก” “แม้ว่า Roadmap จะระบุถึงสถานการณ์ปัญหาขยะพลาสติกครอบคลุมทั้งภาคการผลิต การบริโภคและหลังการบริโภค รวมถึงได้ระบุความท้าทายของการขาดกลไกทางกฎหมายไม่ว่าจะเป็น 1) กฎหมายให้ผู้ผลิตระบุประเภทพลาสติกที่ใช้ทำผลิตภัณฑ์ 2)…
-
ความตายของพะยูน…บอกอะไรกับเรา
เชื่อว่าตอนนี้ไม่มีคนไทยคนไหนที่ไม่รู้จักพะยูนอีกแล้ว ช่วงสามเดือนที่ผ่านมา คนไทยได้ใกล้ชิดและเรียนรู้เกี่ยวกับพะยูนมากอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ผ่านเรื่องราวของมาเรียมและยามีล ลูกพะยูนกำพร้าเพศเมียและเพศผู้ที่ได้รับการอนุบาลอย่างใกล้ชิดโดยทีมสัตวแพทย์ นักวิชาการ ชาวบ้านและอาสาสมัครกว่าร้อยชีวิต แต่ตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมาเราต้องพบกับข่าวพะยูนเสียชีวิตอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการจากไปมาเรียมและยามีล
-
ยุติ! แรงงานทาสยุคใหม่ในท้องทะเล
วันที่ 23 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันระลึกการค้าทาสและการเลิกทาสสากล (Remembers the Slave Trade and its Abolition) เพื่อให้ทุกคนระลึกถึงความโหดร้ายของประวัติศาสตร์การค้าทาสในอดีต ที่คร่าชีวิตผู้คนไปหลายล้านชีวิต รวมถึงสิทธิมนุษยชนที่ไม่เคยได้ถูกพูดถึง