-
‘MIWATARI’ ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้รับเลือกฉายในเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศระดับโลก
ภาพยนตร์สั้น “MIWATARI” (มิวาตาริ) ได้รับการสนับสนุนโดยกรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้รับเลือกให้ฉายในเทศกาลภาพยนตร์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ประเทศไทย เทศกาลหนังสั้น โลกป่วยเราต้องเปลี่ยน ปี 2567
-
กว่า 12,000 รายชื่อ ยื่นเสนอร่างกฎหมาย PRTR ขอนายกเศรษฐา อย่าปัดตก
ตัวแทนจากมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และภาคีเครือข่ายภาคประชาชน ยื่นรายชื่อประชาชน 12,165 รายชื่อ เพื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ พ.ศ…. (ร่างกฎหมาย PRTR)
-
โลกเดือดเกินขีดจำกัดอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลก 1.5°C เป็นเวลา 12 เดือน – ความเห็นของกรีนพีซ
อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์, 8 กุมภาพันธ์ 2567 – สืบเนื่องจากข้อมูลซึ่งเผยแพร่โดยศูนย์คอเปอร์นิคัสซึ่งเป็นหน่วยงานบริการข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหภาพยุโรปที่แสดงให้เห็นว่า เป็นครั้งแรกที่อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกมีแนวโน้มเกินขีดจำกัด 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับปีฐานในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมโดยเกิดขึ้นตลอดทั้งปีตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ถึงมกราคม 2567
-
ชวนติดตามเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลกปี 2567
ปี 2566 ที่ผ่านมา มีความท้าทายและมีบันทึกสถิติใหม่ว่าด้วยวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ทั้งอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่ร้อนที่สุดเท่าที่เคยมีมานับจากช่วงก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อ 200 ปีก่อน ความสุดขั้วของสภาพอากาศที่ถี่ขึ้น บั่นทอนการพัฒนามนุษย์และก่อความเหลื่อมล้ำทางสังคมมากขึ้น
-
ประเด็นทางทะเลและสิทธิมนุษยชนที่น่าจับตามองปี 2024
ตั้งแต่สิทธิแรงงานประมงที่อาจ ‘หายไป’ จากกฎหมายประมงฉบับใหม่ ประเด็นประมงพื้นบ้านและสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากร ไปจนถึงประมงไทยและมาตรฐานระหว่างประเทศ
-
สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม จัดงานเสวนาในหัวข้อ “สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC) เพื่อสื่อสารให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ประเทศต้องมีกฎหมาย PRTR ( เพราะการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นสิทธิของประชาชนทุกคน ตามที่คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ได้ลงมติเห็นชอบและประกาศไว้เมื่อเดือนตุลาคม 2564 ว่าสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี คือสิทธิมนุษยชน
-
ชวนอ่าน 5 ประเด็นสิ่งแวดล้อมฉ่ำๆในปี 2023
ร่วมย้อนมองประเด็นสิ่งแวดล้อมในปี 2023 ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ผ่านการคัดเลือกโดยทีมคอนเทนต์ กรีนพีซ ประเทศไทย
-
โรงกลั่นน้ำมัน โรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล โรงงานอุตสาหกรรม : ต้นตอฝุ่นพิษที่ถูกลืม ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลภาคประชาสังคมเสนอรัฐบาลจัดการกับผู้ก่อมลพิษรายใหญ่ และผ่านกฎหมายการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและ เคลื่อนย้ายสารมลพิษ (PRTR)
ภาคประชาสังคมนำโดยมูลนิธิบูรณะนิเวศ เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาแม่น้ำโขง(MEENet) Thai Climate Justice for All (TCJA) สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI) มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw) และกรีนพีซ ประเทศไทย (Greenpeace Thailand) เปิดเวทีสาธารณะที่ SEA Junction หอศิลปะวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอข้อมูลและบทเรียนจากเมืองใหญ่ในไทยและต่างประเทศ ผลสำรวจแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศขนาดใหญ่จากอุตสาหกรรมที่ถูกละเลย และข้อเสนอทางออกจากวิกฤต
-
ความสำเร็จของงานรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมในปี 2566
ในบทความนี้เราได้รวบรวมข่าวดีจากการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม และความเป็นธรรมด้านสภาพภูมิอากาศจากคนทั่วโลกเพื่อส่งมอบเรื่องราวดี ๆ ให้กับทุกคน
-
ฝุ่น PM2.5 จากภาคอุตสาหกรรมกับต้นเหตุที่ถูกมองข้าม
แม้จะมีคำกล่าวว่า “ฤดูฝุ่นกลับมาอีกครั้ง” แต่แท้จริงแล้วประเทศไทยมีฝุ่นตลอดปี ต้นเหตุที่มักถูกละเลยคือ ‘ฝุ่นภาคอุตสาหกรรม’ ที่ปล่อยทั้งปี ทุกวัน ตลอดเวลา เป็นแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ที่ยังขาดการแก้ปัญหา