All articles
-
“ให้เราพูดแทนสัตว์ทะเล”: เสียงจากเยาวชนผู้อยู่เบื้องหลัง Mystery of Ocean
จับเข่าคุยกับกลุ่มคนรุ่นใหม่เจ้าของนิทรรศการฉายภาพโปรเจคเตอร์ Mystery of Ocean ส่วนหนึ่งของงาน Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justice พาทุกคนดำดิ่งไปใต้ท้องทะเลไทยที่มีทั้งความสวยงามและปัญหาที่คุกคามทั้งความอุดมสมบูรณ์ทางทะเล ชุมชนชาวประมงชายฝั่ง รวมถึงความมั่นคงทางอาหาร
-
กรีนพีซร่วมกับชุมชนชายฝั่งชุมพรเรียกร้องพื้นที่คุ้มครองทางทะเลที่ชุมชนมีส่วนร่วม ในวันมหาสมุทรโลก
เนื่องในวันมหาสมุทรโลก ชุมชนประมงชายฝั่งในอำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ร่วมกับ กรีนพีซ ประเทศไทย หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ เครือข่ายประชาชน และองค์กรภาคประชาสังคม ทำกิจกรรมโดยใช้เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ เรือธงในการรณรงค์ของกรีนพีซเป็นสัญลักษณ์ ผลักดันพื้นที่คุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล เพื่อปกป้องทะเลไทย สิทธิชุมชนชายฝั่ง และความเท่าเทียมทางด้านสิ่งแวดล้อม
-
Diversity is Nature : เพราะความหลากหลายคือธรรมชาติของโลก แล้วนโยบายรัฐไทยโอบรับความหลากหลายของชุมชนหรือยัง?
เฉลิมฉลองเดือนแห่งความหลากหลาย (Pride Month) เราจึงชวนกลุ่มคนที่ทำงานในประเด็นความหลากหลายในมิติต่างๆไม่ว่าจะเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ เพศ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม มาร่วมพูดคุยกันในวงเสวนา Diversity is Nature โดยมี อาจารย์ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ไครียะห์ ระหมันยะ ลูกสาวแห่งท้องทะเลจะนะ เยาวชนและนักกิจกรรมจากเครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น จ.สงขลา และวิภาวดี แอมสูงเนิน นักรณรงค์ด้านทะเลและมหาสมุทร กรีนพีซ ประเทศไทย
-
‘บ้านเรา ให้เราดูแล’ เสียงจาก 4 นักปกป้องชุมชนทะเลไทย
ในปี 2567 นี้ เรือรณรงค์ของกรีนพีซอย่าง Rainbow Warrior เดินทางมาที่น่านน้ำไทย เราจึงขอชวนไปทำความรู้จักและฟังเสียง Ocean Defenders หรือ นักปกป้องทะเล 4 คน ที่ต่างมีเป้าหมายเดียวกันในการรักษาบ้านเกิดของพวกเขา
-
เรนโบว์ วอร์ริเออร์ เรือธงของกรีนพีซ ถึงประเทศไทยแล้ว
กรีนพีซ ประเทศไทย จัดงาน “Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justic” ที่มิวเซียมสยาม ในโอกาสที่เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ เรือธงที่ใช้ในการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ เดินทางมาประเทศไทยอีกครั้ง เพื่อทำงานร่วมกับชุมชน ภาคประชาสังคม องค์กร และหน่วยงานต่าง ๆ ผลักดันเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล เพื่อปกป้องทะเลไทย และสิทธิชุมชนชายฝั่ง และความเท่าเทียมทางด้านสิงแวดล้อม
-
ประเด็นทางทะเลและสิทธิมนุษยชนที่น่าจับตามองปี 2024
ตั้งแต่สิทธิแรงงานประมงที่อาจ ‘หายไป’ จากกฎหมายประมงฉบับใหม่ ประเด็นประมงพื้นบ้านและสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากร ไปจนถึงประมงไทยและมาตรฐานระหว่างประเทศ
-
ชุมชนประมงไทย อินโดฯ และเซเนกัลร่วมเรียกร้องสิทธิปกป้องชายฝั่งทะเล
ชุมชนประมงจากจะนะ ประเทศไทย เซเนกัล และอินโดนีเซีย ร่วมกันจัดกิจกรรมเนื่องในวันประมงโลก ยื่นหนังสือเรียกร้องหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ชุมชนได้มีสิทธิ์ในการปกป้องคุ้มครองพื้นที่ทะเลของชุมชนตนเอง
-
ชาวจะนะเปิดตัวรายงาน “เสียงแห่งจะนะ” เผยมลพิษนิคมฯที่อาจกระทบทรัพยากร อาชีพ และสุขภาพ
เครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่นและกรีนพีซ ประเทศไทย เปิดตัวรายงาน “เสียงแห่งจะนะ” ซึ่งรวบรวมข้อมูลคุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคมของอำเภอจะนะ และความเสี่ยงด้านผลกระทบทางทรัพยากรธรรมชาติ อากาศ ทะเลและชายฝั่ง ไปจนถึงภัยคุกคามต่ออาชีพและสุขภาพของชุมชน หากมีโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะเกิดข้ึน
-
รายงาน เสียงแห่งจะนะ Voice of Chana
รายงาน “เสียงแห่งจะนะ” เกิดขึ้นภายใต้ความร่วมมือระหว่างภาคประชาชน นักวิชาการ และภาคประชาสังคม โดยมีข้อมูลคุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคม และข้อมูลฉากทัศน์ความเสี่ยงด้านผลกระทบทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะด้านมลพิษทางอากาศ และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หากมีโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะเกิดขึ้น รวมถึงผลลัพธ์จากการะบวนการเปิดพื้นที่รับข้อเสนอแนวทางการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืนที่มาจากการระดมความเห็นของประชาชนหลากหลายอาชีพ
-
รายงาน: 30×30 จากสนธิสัญญาทะเลหลวงสู่เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล
รายงาน 30x30: From Global Ocean Treaty to Protection at Sea เผยข้อมูลการวิเคราะห์ของภัยคุกคามทะเลหลวง และสาเหตุว่าทำไมเราต้องใช้สนธิสัญญาทะเลหลวงสร้างเขตคุ้มครองทางทะเลให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 30 ของมหาสมุทรทั้งหมดภายในปี 2573 พื้นที่มหาสมุทรทั้งหมด 11 ล้านตารางกิโลเมตรต้องได้รับการปกป้องตามเป้าหมาย 30x30 ของสหประชาชาติ ซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมตั้งแต่ปี 2565 และสนธิสัญญาฉบับนี้เป็นหนทางเดียวที่จะทำให้เราไปถึงเป้าหมายได้ทันกำหนด