• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ชุมชนชายฝั่ง นักกิจกรรมกรีนพีซ ป่าไม้ ระบบนิเวศ เชื้อเพลิงฟอสซิล เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    กรีนพีซร่วมกับเครือข่ายชุมชนเรียกร้องรัฐบาลแพทองธารหยุดฟอกเขียวให้กับยักษ์ใหญ่คาร์บอน

    เครือข่ายประชาชนเสริมสร้างความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและหยุดคาร์บอนเครดิตยื่นจดหมายเปิดผนึกถึงเลขาธิการบริหารกรอบอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC Executive Secretary) ระบุ การเงินด้านสภาพภูมิอากาศ (Climate Finance) ต้องยึดหลักความรับผิดชอบทางประวัติศาสตร์ในการก่อโลกเดือดของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมร่ำรวย

    Greenpeace Thailand •
    15 October 2024
    4 min read
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ คนและสังคม ชุมชนชายฝั่ง ป่าไม้ ระบบนิเวศ

    การประชุมเจรจา CBD COP16 จะเป็นใบเบิกทางสู่การปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพอย่างแท้จริงหรือไม่?

    ในทศวรรษนี้จะเป็นช่วงเวลาสำคัญสำหรับทุกชีวิตบนโลก เพราะเป็นช่วงเวลาที่เราต้องเลือกว่าเราจะปกป้องโลกเพื่อให้สายใยโครงสร้างทางระบบนิเวศใบนโลกได้ฟื้นฟูตัวเอง หรือเราจะเลือกให้กลุ่มทุนผู้ก่อมลพิษยังคงแสวงหาผลกำไรเข้าตัวและทำลายโลกต่อไป ?  

    August Rick •
    11 October 2024
    5 min read
  • Dairy Farming at Uckermark AG in Germany. © Paul Langrock / Greenpeace
    ความหลากหลายทางชีวภาพ
    ปฏิวัติระบบอาหาร เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว คนและสังคม

    วัวเรอไม่ใช่เรื่องตลก : ก๊าซมีเทนจาก เรอ ตด และมูลในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์กำลังทำให้สภาพภูมิอากาศวิกฤต

    ถ้าถามว่าเรารู้จักก๊าซมีเทนไหม? หลายคนน่าจะรู้จักก๊าซชนิดนี้ว่าเป็นก๊าซจากตดและเรอของวัว นอกจากนี้ ก๊าซมีเทนยังถูกปลดปล่อยจากการเลี้ยงสัตว์ มูลวัว และการย่อยอาหาร ซึ่งการปลดปล่อยก๊าซมีเทนนี้เคยเป็นประเด็นรณรงค์จากหนึ่งในศิลปินชื่อดังอย่าง the Beatles โดยเป็นผู้สนับสนุนสำคัญในด้านการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมที่กระจายประเด็นนี้สู่สาธารณะให้ตระหนักรู้

    Jonathan Findalen •
    10 October 2024
    4 min read
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ปฏิวัติระบบอาหาร ป่าไม้ ฝุ่นข้ามพรมแดน

    ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม

    การเลิกใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่เพียงแค่ฟอสซิลอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ หากเราต้องการหยุดภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้น เราจำเป็นต้องจำกัดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนมอย่างเร่งด่วน

    Greenpeace Thailand •
    9 October 2024
  • Protest at Danish Crown headquarters. © Michael Hedelain / Greenpeace
    ความหลากหลายทางชีวภาพ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ฝุ่นข้ามพรมแดน ป่าไม้ ปฏิวัติระบบอาหาร

    สรุปเนื้อหารายงาน ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม

    รายงานของกรีนพีซ นอร์ดิก “ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม” เผยให้เห็นเป็นครั้งแรกว่าเราสามารถชะลอการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกได้ หากรัฐบาลมีความมุ่งมั่นในการลดการผลิตที่ล้นเกินจากอุตสาหกรรมปศุสัตว์ และเปลี่ยนผ่านสู่ระบบอาหารที่เป็นธรรมและยั่งยืน

    Greenpeace Thailand •
    9 October 2024
  • กรีนพีซ
    ความหลากหลายทางชีวภาพ
    ปฏิวัติระบบอาหาร การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ฝุ่นข้ามพรมแดน ป่าไม้

    กรีนพีซเผย บริษัทอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์นมยักษ์ใหญ่ปล่อยก๊าซมีเทนไม่แพ้อุตสาหกรรมน้ำมัน: การลดการปล่อยก๊าซมีเทนอาจช่วยชะลอภาวะโลกเดือดในทศวรรษนี้ได้

    รายงาน “ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม” แสดงให้เห็นว่าเราสามารถชะลอภาวะโลกเดือดได้อย่างมีนัยสำคัญในช่วงอายุขัยของเราด้วยการเปลี่ยนแปลงระบบอาหาร โดยลดการผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมเชิงอุตสาหกรรม และเพิ่มการผลิตอาหารจากพืชให้มากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการรับประทานอาหารของ EAT-Lancet Planetary Health ซึ่งมุ่งเน้นการสร้างระบบอาหารที่ยั่งยืนและส่งเสริมสุขภาพทั้งของมนุษย์และโลก

    Greenpeace Thailand •
    9 October 2024
    6 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ คนและสังคม เชื้อเพลิงฟอสซิล

    ซูเปอร์มาเก็ตในป่าชุมชน

    “ถ้ามีโครงการเหมืองถ่านหิน พวกเราจะไปอยู่ที่ไหน? เรากินอยู่กับป่า เรารักษาป่า เพราะป่าคือชีวิตเรา เราไม่เชื่อหรอกว่าการมีเหมืองถ่านหินพวกเราจะรวย เราจะตายต่างหาก” 

    นุ่น มนูญ วงษ์มะเซาะห์ •
    8 October 2024
    12 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ คนและสังคม พลังงานหมุนเวียน มลพิษทางอากาศ เชื้อเพลิงฟอสซิล

    ‘ปลดระวางถ่านหิน เคารพสิทธิมนุษยชน’ คำเรียกร้องถึง SCG ในวันที่พลังงานฟอสซิลเป็นเรื่องล้าหลัง และความยั่งยืนเป็นนโยบายเรือธงขององค์กร

    กรีนพีซ ประเทศไทย จัดงาน ‘ฮักภาคเหนือ บ่เอาถ่านหิน’ บริเวณประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ และจัดให้มีเวทีเสวนา ‘ถ้าฮักบ้านเฮา: ต้องเริ่มปลดระวางถ่านหินและเคารพสิทธิมนุษยชน’ ขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2567 ที่ผ่านมา

    S.Siriwan •
    1 October 2024
    15 min read
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ป่าไม้ ระบบอาหาร เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว คนและสังคม

    มองน้ำท่วมในมุม Climate Injustice เมื่อกลุ่มคนที่ปล่อยคาร์บอนน้อยสุดต้องรับแบกรับผลจากภัยพิบัติจากโลกเดือดมากที่สุด

    ข้อถกเถียงสำคัญที่เกิดขึ้นในขณะนี้คือสภาวะน้ำท่วมฉับพลัน ดินถล่มและโคลนที่ตามมาจากมวลน้ำที่ไหลมาจากพื้นที่ภูเขา ในสายตาของสังคมพุ่งไปยังชุมชนคนกับป่าที่อาศัยอยู่บนดอยว่าเป็นต้นเหตุของการทำลายป่า อย่างไรก็ตาม สภาพภูมิอากาศสุดขั้วที่ทำให้หลายพื้นที่ประเทศไทยกำลังเผชิญกับพายุรุนแรงและน้ำท่วมครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์นั้นไม่ได้มีที่มาเพียงแค่การหายไปของพื้นที่ป่าไม้ แต่ยังเป็นผลของการก่อก๊าซเรือนกระจกมหาศาลและอย่างยาวนานของอุตสาหกรรมหลายภาคส่วน

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    1 October 2024
    18 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน เชื้อเพลิงฟอสซิล คนและสังคม

    สรุปวงสนทนา  #ฮักภาคเหนือบ่เอาถ่านหิน : เสียงจากคนภาคเหนือร่วมคัดค้านโครงการเหมืองถ่านหิน

    เป็นเวลาร่วม 5 ปีแล้วที่ชุมชนบ้านบอม อ.แม่ทะ จ.ลำปาง และชุมชนกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ เดินหน้าปกป้องพื้นที่จากโครงการเหมืองถ่านหินไม่ให้เกิดขึ้นอีก ในปีนี้ กรีนพีซ ประเทศไทยหนึ่งในภาคีเครือข่ายร่วมคัดค้านโครงการเหมืองถ่านหินกับชุมชน จัดวงพูดคุย X Space #ฮักภาคเหนือบ่เอาถ่านหิน เสียงจากคนภาคเหนือในการคัดค้านโครงการเหมืองถ่านหิน

    Supang Chatuchinda •
    1 October 2024
    13 min read
Prev
1 … 12 13 14 15 16 … 153
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้