• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบจากพลาสติก พลาสติก EPR

    ยุติมลพิษพลาสติกแถลงการณ์จากภาคประชาสังคมต่อการเจรจาระหว่างรัฐบาลเพื่อจัดตั้ง “สนธิสัญญาพลาสติกโลก”

    160 องค์กรภาคประชาสังคมและภาควิชาการเรียกร้องให้รัฐบาลไทยและรัฐบาลทั่วโลกจัดทำสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่ทะเยอทะยาน ยุติมลพิษพลาสติกตลอดวงจรชีวิต คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สิทธิ และสุขภาพของมนุษย์เป็นหลัก

    Greenpeace Thailand •
    12 November 2024
    7 min read
  • พลาสติก
    EPR Brand Audit ผลกระทบจากพลาสติก พลาสติก หลักจัดการขยะ7R

    ข้อเสนอสู่เวทีเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก กับคำถามโค้งสุดท้าย: ผลิตและบริโภคพลาสติกอย่างไรถึงเรียกได้ว่ายั่งยืน?

    หลังจากที่ได้มีการประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2565 และได้กำหนดให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างประเทศ (Intergovernmental Negotiating Committee – INC) เพื่อร่วมกันจัดทำมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายว่าด้วยมลพิษพลาสติกรวมถึงสิ่งแวดล้อมในทะเล และได้ตกลงให้มี “สนธิสัญญาพลาสติกโลก” หรือ “Global Plastic Treaty” ขึ้น โดยกำหนดว่า สนธิสัญญานี้จะต้องครอบคลุมตลอดวงจรชีวิตพลาสติก และมีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตและบริโภคพลาสติกในระดับที่ยั่งยืน จากนั้นได้จัดให้มีการประชุม INC เพื่อร่างสนธิสัญญาพลาสติกโลก โดยการประชุม INC ครั้งที่ 5 ที่ปูซาน…

    Greenpeace Thailand •
    11 November 2024
    14 min read
  • บทความ
    Brand Audit EPR คนและสังคม ผลกระทบจากพลาสติก พลาสติก หลักจัดการขยะ7R เชื้อเพลิงฟอสซิล ไลฟ์สไตล์

    เจาะลึกข้อมูลผลกระทบของพลาสติกตลอดวงจรชีวิต และทางออกที่ต้องผลักดันสู่ระดับนโยบาย

    จากความพยายามในระดับโลก โดยการนำของสหประชาชาติและเหล่าประเทศสมาชิก ที่ต้องการหาแนวทางลดผลกระทบจากมลพิษพลาสติกในทุกรูปแบบ ซึ่งเริ่มต้นเมื่อปี 2557 นำมาสู่การแต่งตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาล Intergovernmental Negotiating Committee: INC) ในการจัดทำมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศด้านมลพิษจากพลาสติกรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทางทะเลเพื่อเจรจาและหาข้อยุติในการจัดทำร่าง “สนธิสัญญาพลาสติกโลก” โดยกำหนดกรอบเวลาการประชุมของคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลฯ จำนวน 5 ครั้ง ตั้งเป้าจัดทำมาตรการให้แล้วเสร็จในปี 2567 ซึ่งการประชุมและเจรจาครั้งที่ 5 ซึ่งเป็นครั้งสุดท้าย หรือ “INC-5” จะจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 25 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2567…

    S.Siriwan •
    4 November 2024
    22 min read
  • พลาสติก
    EPR PRTR ผลกระทบจากพลาสติก มลพิษทางอากาศ อากาศสะอาด การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    อุบัติภัยอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่มาบตาพุดครั้งล่าสุดย้ำถึงความจำเป็นของสนธิสัญญาพลาสติกโลกในการลดการผลิตพลาสติกเพื่อปกป้องสภาพภูมิอากาศและยุติสารเคมีเป็นพิษเพื่อคุ้มครองสุขภาพของมนุษย์

    ความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากมลพิษอุตสาหกรรมพลาสติกนั้นแตกต่างกันไป คนส่วนใหญ่ทั่วโลกจะรับสัมผัสอนุภาคพลาสติกและสารเคมีที่เกี่ยวข้องในหลายขั้นตอนของวงจรชีวิตของพลาสติก ในที่นี้ เราจะเปิดปูมให้เห็นถึงมลพิษจากอุตสาหกรรมพลาสติกพีวีซีในประเทศไทย

    ธารา บัวคำศรี •
    24 September 2024
    8 min read
  • Fast Fashion and Waste Colonialism in Ghana. © Kevin McElvaney / Greenpeace
    พลาสติก
    ผลกระทบจากพลาสติก ฟาสต์แฟชั่น ไลฟ์สไตล์ คนและสังคม

    สุดช็อก! รายงานกรีนพีซ แอฟริกาเผยผลกระทบของสารพิษในกานา จากขยะสิ่งทออุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่น

    รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซ แอฟริกาและกรีนพีซ เยอรมนี เปิดโปงความเสียหายด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมระดับวิกฤตในกานา โดยมีสาเหตุจากอุตสาหกรรมการซื้อขายสิ่งทอมือสองระดับโลก รายงานที่มีชื่อว่า “Fast Fashion, Slow Poison: The Toxic Textile Crisis in Ghana,” เปิดโปงผลกระทบและความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบต่อชุมชนและระบบนิเวศในกานา จากการทิ้งขยะสิ่งทอ (เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า ฯลฯ) จากกลุ่มประเทศซีกโลกเหนือ โดยส่วนใหญ่เป็นเสื้อผ้าจากอุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่น

    Greenpeace Africa •
    16 September 2024
    3 min read
  • กรีนพีซ
    ความหลากหลายทางชีวภาพ
    EPR PRTR VoteForClimate การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ค่าไฟ ชุมชนชายฝั่ง ป่าไม้ ผลกระทบจากพลาสติก ฝุ่นข้ามพรมแดน พลังงานหมุนเวียน มลพิษทางอากาศ ระบบนิเวศ ระบบอาหาร เชื้อเพลิงฟอสซิล อุตสาหกรรมประมง อากาศสะอาด เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567

    check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด

    Greenpeace Thailand •
    13 September 2024
    1 min read
  • กรีนพีซ
    ข่าวประชาสัมพันธ์
    พลาสติก

    Bette Midler และ Lupita Nyong’o ร่วมกับนักแสดง นักกิจกรรม และนักกีฬา เรียกร้องให้ผู้นำโลกลดการผลิตพลาสติก

    นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา, 9 กันยายน 2567 – ก่อนการประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่นิวยอร์ก เบ็ตต์ มิดเลอร์ (Bette Midler) นักแสดงเจ้าของรางวัล Tony และ Grammy และ ลูพีตา นยองโก (Lupita Nyong’o) นักแสดงเจ้าของรางวัล Oscar ได้ร่วมมือกับนักกีฬาและนักกิจกรรมจากทั่วโลก เรียกร้องให้ผู้นำโลกสนับสนุนสนธิสัญญาพลาสติกระดับโลกที่มีเป้าหมายชัดเจนในการลดการผลิตพลาสติกและยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง

    Greenpeace International •
    10 September 2024
    2 min read
  • พลาสติก
    EPR ผลกระทบจากพลาสติก

    การเจรจาใน INC-5 ต้องเน้นการลดการผลิต โปร่งใสและรับฟังเสียงของภาคประชาสังคม

    กรุงเทพฯ, ประเทศไทย -29 สิงหาคม 2567– หลังจากที่การประชุมระหว่างสมัย (Intersessional Work) ซึ่งจัดขึ้นก่อนหน้าการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty) ที่เป็นมาตรการด้านมลพิษพลาสติกและสิ่งแวดล้อมทางทะเล ที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 24-28 สิงหาคม 2567 ได้จบลง สนธิสัญญานี้คือความหวังในการยุติวิกฤตมลพิษพลาสติก

    Greenpeace Thailand •
    29 August 2024
    1 min read
  • กรีนพีซ
    พลาสติก
    EPR ผลกระทบจากพลาสติก

    ภาคประชาสังคมเรียกร้องให้ยุติการใช้ซองซาเช่ที่ก่อมลพิษในช่วงการเจรจาเกี่ยวกับสนธิสัญญาพลาสติกโลก

    ผู้นำภาคประชาสังคมยังเรียกร้องความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมมากขึ้น ในการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่กำลังจะถึง

    Greenpeace Thailand •
    23 August 2024
    6 min read
  • พลาสติก
    เรือรณรงค์กรีนพีซ หลักจัดการขยะ7R ไลฟ์สไตล์ คนและสังคม

    พาสำรวจการจัดการขยะบนเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์

    แม้จะเป็นการจัดการขยะในพื้นที่ขนาดเล็ก แต่เราหวังว่าระบบการจัดการขยะของเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ จะเป็นแรงบันดาลใจให้กับอีกหลายคน หลายองค์กร ในการนำไปปรับใช้ การแยกขยะและทิ้งอย่างถูกต้อง

    บุณย์ลดา จงจิตเกษม •
    24 July 2024
    4 min read
Prev
1 2 3 4 5 … 29
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้