• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • เกี่ยวกับกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • ร่วมบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสารล่าสุด
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • เกี่ยวกับกรีนพีซ
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
  • ร่วมกับเรา
  • ร่วมบริจาค
  • ข่าวสารล่าสุด
Greenpeace
  • Home
  • เกี่ยวกับกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • ร่วมบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสารล่าสุด
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    อากาศสะอาด, เชื้อเพลิงฟอสซิล, มลพิษทางอากาศ

    แถลงการณ์เรียกร้องรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎร เร่งรัดออกกฎหมาย PRTR เปิดเผยข้อมูลมลพิษเพื่อแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 อย่างตรงจุดที่ต้นตอ

    มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ และกรีนพีซ ประเทศไทย ขอเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรี เร่งรัดผลักดันให้ ร่าง พ.ร.บ. PRTR ถูกนำขึ้นมาพิจารณาและตราเป็นกฎหมายออกบังคับใช้โดยเร็วที่สุด

    Greenpeace Thailand •
    29 January 2025
    3 min read
  • Coal Power Plant Action in Jaenschwalde. © Greenpeace / Christian Schmutz
    บทความ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล, เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    รายงานล่าสุดของ GEM เผย “super-emitter” 23 เหตุการณ์เชื่อมโยงกับ 8 เหมืองถ่านหินระดับโลก

    ในเดือนธันวาคม 2567  องค์กรติดตามพลังงานโลก หรือ Global Energy Monitor (GEM) เผยแพร่รายงานข้อมูลเกี่ยวกับการปล่อยก๊าซมีเทน (Methane) จากเหมืองถ่านหินทั่วโลก โดยเน้นการตรวจจับเหตุการณ์ที่เรียกว่า “super-emitter” ซึ่งหมายถึงการปล่อยก๊าซมีเทนในระดับสูงเกินกว่ามาตรฐานที่กำหนดโดยหน่วยงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (Environment Protection Agency: EPA) จากแหล่งที่สามารถระบุได้อย่างชัดเจน

    อรรถพล พวงสกุล •
    27 January 2025
    5 min read
  • Protest at the Fossil Gas Platform in the Gulf of Thailand. © Greenpeace
    บทความ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล, มลพิษทางอากาศ

    โรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล: อีกหนึ่งหายนะและต้นตอของ PM 2.5

    ค่า PM2.5 จากรายงานคุณภาพอากาศ ณ จุดที่ตั้งของโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล พระนครเหนือ อ.บางกรวย จังหวัดนนทบุรี และพระนครใต้ อ.เมือง จังหวัดสมุทรปราการ  ในวันนี้มีระดับที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและได้เป็นสิ่งที่เตือนใจถึงเรื่องที่เราหลงลืมไปนั้นคือการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลของโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิลทั้งสองแห่งคือหนึ่งในแหล่งกำเนิดหลักของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2), ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx), ฝุ่นละออง (PM), คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2), ปรอท (Hg) และมลพิษอื่น ๆแม้ว่า ณ ปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีมาตรฐานการปล่อยฝุ่นพิษ PM2.5 จากปลายปล่อง แต่มีประกาศโดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเรื่องกำหนดมาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5…

    นุ่น มนูญ วงษ์มะเซาะห์ •
    24 January 2025
    5 min read
  • Global week of action - Solidarity against Energy Transfer Lawsuit - Poland. © Greenpeace / Max Zielinski
    บทความ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ, คนและสังคม, ชุมชนชายฝั่ง, ป่าไม้, พลังงานหมุนเวียน, อุตสาหกรรมประมง, เชื้อเพลิงฟอสซิล, เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว, เหมืองทะเลลึก

    โลกยังมีหวัง ! : รวมชัยชนะด้านสิ่งแวดล้อมทั่วโลกในปี 2567

    นี่คือชัยชนะด้านสิทธิและสิ่งแวดล้อมจากทั่วโลกในปี 2024 ที่เป็นแรงบันดาลใจให้เรายังคงรณรงค์เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมต่อไป

    Caroline Wagner, Francesca Cresta and Tan Lee Kuen •
    24 January 2025
    13 min read
  • Peaceful Climate Protest in Hamburg's Harbour. © Maria Feck / Greenpeace
    ข่าวประชาสัมพันธ์
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ, เชื้อเพลิงฟอสซิล, เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    กรีนพีซ ประณามทรัมป์หลังตั้งใจถอน สหรัฐอเมริกา ออกจากความตกลงปารีส

    หลัง ประธานาธิบดี โดนัล ทรัมป์ ประกาศเจตจำนงถอดถอนสหรัฐอเมริกาออกจากความตกลงปารีส (the Paris Agreement)

    Greenpeace International •
    21 January 2025
    2 min read
  • รายงาน
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ, เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว, ปฏิวัติระบบอาหาร, ระบบนิเวศ

    จะเกิดอะไรขึ้นถ้าชะลอไม่ให้โลกร้อนเกิน 1.5 °C

    ภาวะโลกเดือดที่เรากำลังเจอทำให้ปัจจุบันมีอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้น 1.3องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม (เทียบกับอุณหภูมิในช่วงระหว่างปี ค.ศ.1805 กับ 1900 ) และระดับน้ำทะเลทั่วโลกก็สูงขึ้น 20 เซนติเมตร 

    Greenpeace Thailand •
    14 January 2025
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    ชุมชนชายฝั่ง, อุตสาหกรรมประมง

    จดหมายเปิดผนึก กฎหมายประมงต้องนำไปสู่การประมงที่ยั่งยืน ระบบนิเวศสมดุล เคารพสิทธิมนุษยชน โดยเครือข่ายองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม

    พระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 ได้รับการจัดทำขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการประมงผิดกฎหมายขาดการรายงาน และขาดการควบคุม ตลอดจนปัญหาการจับสัตว์น้ำเกินกำลังการผลิตของทะเล รวมถึงการค้ามนุษย์และการละเมิดสิทธิแรงงานในอุตสาหกรรมการประมงของประเทศไทย เนื้อหาและการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวส่งผลให้การประมงทะเลไทย รวมถึงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง สามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิกและให้การรับรอง

    Greenpeace Thailand •
    13 January 2025
    4 min read
  • Excessive Heat Wave in West Coast, California. © David McNew / Greenpeace
    ข่าวประชาสัมพันธ์
    เชื้อเพลิงฟอสซิล, เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    “ปีนรก” : ความเห็นจากจากกรีนพีซเกี่ยวกับปีที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นปีแรกที่เกินขีดจำกัดโลกเดือด 1.5°C

    จากการตอบสนองต่อรายงานสรุปสภาพภูมิอากาศโลกปี 2567 โดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO), Copernicus, Met Office, NASA และองค์กรติดตามสภาพภูมิอากาศอื่น ๆ ซึ่งพบว่ามีสภาพอากาศสุดขั้วแบบใหม่เกิดขึ้นในปี 2567 รายงานสรุปว่าปีดังกล่าวเป็นปีที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์การบันทึก

    Greenpeace International •
    13 January 2025
    3 min read
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    คนและสังคม, เชื้อเพลิงฟอสซิล

    SCG ส่งจดหมายถึงกรีนพีซ ยืนยันปลดระวางถ่านหิน เริ่มจากยกเลิกแผนเหมืองถ่านหินในภาคเหนือ

    จากจดหมายชี้แจงของบริษัทปูนซีเมนต์ไทย (ลำปาง) จำกัด ซึ่งระบุว่า บริษัทฯ ได้พิจารณายกเลิกโครงการเหมืองถ่านหินของตนที่อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง โดยยื่นถอนคำขอประทานบัตรต่อหน่วยงานราชการเป็นที่เรียบร้อย ในกรณีของโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย จ.เชียงใหม่ซึ่ง SCG อยู่ในห่วงโซ่อุปทานรับซื้อถ่านหินเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานปูนซีเมนต์นั้น SCG เเจ้งยืนยันกับผู้ยื่นคำขอประทานบัตรแล้วว่า SCG มีนโยบายไม่รับซื้อถ่านหินจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย

    Greenpeace Thailand •
    10 January 2025
    4 min read
  • บทความ
    รายงานประจำปี

    วารสารข่าว ฉบับปี 2567: Resilience and Renewal

    บทบรรณาธิการเรือธงแห่งความหวัง ยังคงยืนหยัดอย่างเข้มแข็ง

    Greenpeace Thailand •
    8 January 2025
    3 min read
Prev
1 … 3 4 5 6 7 … 151
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • เกี่ยวกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้