All articles
-
‘บ้านเรา ให้เราดูแล’ เสียงจาก 4 นักปกป้องชุมชนทะเลไทย
ในปี 2567 นี้ เรือรณรงค์ของกรีนพีซอย่าง Rainbow Warrior เดินทางมาที่น่านน้ำไทย เราจึงขอชวนไปทำความรู้จักและฟังเสียง Ocean Defenders หรือ นักปกป้องทะเล 4 คน ที่ต่างมีเป้าหมายเดียวกันในการรักษาบ้านเกิดของพวกเขา
-
เรนโบว์ วอร์ริเออร์ เรือธงของกรีนพีซ ถึงประเทศไทยแล้ว
กรีนพีซ ประเทศไทย จัดงาน “Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justic” ที่มิวเซียมสยาม ในโอกาสที่เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ เรือธงที่ใช้ในการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ เดินทางมาประเทศไทยอีกครั้ง เพื่อทำงานร่วมกับชุมชน ภาคประชาสังคม องค์กร และหน่วยงานต่าง ๆ ผลักดันเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล เพื่อปกป้องทะเลไทย และสิทธิชุมชนชายฝั่ง และความเท่าเทียมทางด้านสิงแวดล้อม
-
ประเด็นทางทะเลและสิทธิมนุษยชนที่น่าจับตามองปี 2024
ตั้งแต่สิทธิแรงงานประมงที่อาจ ‘หายไป’ จากกฎหมายประมงฉบับใหม่ ประเด็นประมงพื้นบ้านและสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากร ไปจนถึงประมงไทยและมาตรฐานระหว่างประเทศ
-
ชุมชนประมงไทย อินโดฯ และเซเนกัลร่วมเรียกร้องสิทธิปกป้องชายฝั่งทะเล
ชุมชนประมงจากจะนะ ประเทศไทย เซเนกัล และอินโดนีเซีย ร่วมกันจัดกิจกรรมเนื่องในวันประมงโลก ยื่นหนังสือเรียกร้องหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ชุมชนได้มีสิทธิ์ในการปกป้องคุ้มครองพื้นที่ทะเลของชุมชนตนเอง
-
ชาวจะนะเปิดตัวรายงาน “เสียงแห่งจะนะ” เผยมลพิษนิคมฯที่อาจกระทบทรัพยากร อาชีพ และสุขภาพ
เครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่นและกรีนพีซ ประเทศไทย เปิดตัวรายงาน “เสียงแห่งจะนะ” ซึ่งรวบรวมข้อมูลคุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคมของอำเภอจะนะ และความเสี่ยงด้านผลกระทบทางทรัพยากรธรรมชาติ อากาศ ทะเลและชายฝั่ง ไปจนถึงภัยคุกคามต่ออาชีพและสุขภาพของชุมชน หากมีโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะเกิดข้ึน
-
รายงาน เสียงแห่งจะนะ Voice of Chana
รายงาน “เสียงแห่งจะนะ” เกิดขึ้นภายใต้ความร่วมมือระหว่างภาคประชาชน นักวิชาการ และภาคประชาสังคม โดยมีข้อมูลคุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคม และข้อมูลฉากทัศน์ความเสี่ยงด้านผลกระทบทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะด้านมลพิษทางอากาศ และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หากมีโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะเกิดขึ้น รวมถึงผลลัพธ์จากการะบวนการเปิดพื้นที่รับข้อเสนอแนวทางการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืนที่มาจากการระดมความเห็นของประชาชนหลากหลายอาชีพ
-
รายงาน: 30×30 จากสนธิสัญญาทะเลหลวงสู่เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล
รายงาน 30x30: From Global Ocean Treaty to Protection at Sea เผยข้อมูลการวิเคราะห์ของภัยคุกคามทะเลหลวง และสาเหตุว่าทำไมเราต้องใช้สนธิสัญญาทะเลหลวงสร้างเขตคุ้มครองทางทะเลให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 30 ของมหาสมุทรทั้งหมดภายในปี 2573 พื้นที่มหาสมุทรทั้งหมด 11 ล้านตารางกิโลเมตรต้องได้รับการปกป้องตามเป้าหมาย 30x30 ของสหประชาชาติ ซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมตั้งแต่ปี 2565 และสนธิสัญญาฉบับนี้เป็นหนทางเดียวที่จะทำให้เราไปถึงเป้าหมายได้ทันกำหนด
-
ครึ่งปีผ่านไป คุณกับเราได้ขับเคลื่อนงานรณรงค์เรื่องทะเลและมหาสมุทรอะไรบ้าง?
เวลาครึ่งปีที่ผ่านไปมีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นกับมหาสมุทรทั้งในไทยและทั่วโลก เราเลยอยากมาชวนมองย้อนว่าครึ่งปีที่ผ่านมา เราได้ทำอะไรบ้างในประเด็นทะเลและชุมชนชายฝั่ง
-
สรุปสถานการณ์ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมครึ่งปีแรก 2566 : ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงในไทยท่ามกลางวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลก
แม้ว่าในปี 2566 นี้จะเริ่มต้นด้วยสถานการณ์โรคระบาดที่ทุเลาลงและผู้คนได้กลับมาใช้ชีวิตที่เกือบจะเหมือนเดิมอีกครั้ง แต่ทั้งไทยและทั่วโลกยังคงต้องจับตาวิกฤตสภาพภูมิอากาศและสถานการณ์การคัดค้านและเรียกร้องให้กลุ่มบรรษัทผู้ก่อมลพิษหลัก ต้องหยุด การฟอกเขียว และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากต้นทาง รวมทั้งต้องจ่ายค่าความสูญเสียและเสียหายต่อกลุ่มประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศอีกด้วย
-
คุยเรื่องเลกับ “เต่าไข่” : กลุ่มก๊ะ แดนจะนะผู้แหกขนบภาพจำทำประมงต้องเป็นชาย
ถ้าพูดถึงการทำประมง หลายคนมักมองว่าเป็นอาชีพสำหรับผู้ชาย แต่ที่อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลานั้นไม่ใช่ เรามีโอกาสได้พูดคุยกับทั้งก๊ะบ๊ะ ก๊ะหนับ และก๊ะส๊ะ แห่งอำเภอจะนะ ผู้แหกขนบภาพจำว่าผู้หญิงต้องเลี้ยงลูกอยู่บ้าน