All articles
-
นักกิจกรรมกรีนพีซกางป้าย ณ แท่นขุดเจาะก๊าซฟอสซิลกลางอ่าวไทย ระบุการกักเก็บคาร์บอนใต้ทะเลไม่ใช่ทางออกวิกฤตโลกเดือด
นักกิจกรรมจากเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ซึ่งเป็นเรือธงของกรีนพีซทำการประท้วงอย่างสันติ ณ แท่นขุดเจาะก๊าซฟอสซิลแหล่งอาทิตย์ คัดค้านโครงการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Offshore Carbon Capture And Storage : CCS) ในเขตเศรษฐกิจจำเพาะของอ่าวไทย เพื่อเปิดโปงการฟอกเขียวของอุตสาหกรรมฟอสซิล
-
ข้อเรียกร้องของ กรีนพีซ ประเทศไทย ต่อโครงการ Carbon Capture and Storage ที่แหล่งอาทิตย์
โครงการ Carbon Capture and Storage(CCS) นอกชายฝั่งกำลังถูกผลักดันในระดับที่ไม่เคยมีมาก่อน ในช่วงกลางปี 2566 บริษัทและรัฐบาลต่างๆ ประกาศแผนการก่อสร้างโครงการ offshore CCS มากกว่า 50 แห่งทั่วโลก หนึ่งในนั้นคือโครงการ CCS ที่แหล่งอาทิตย์ในอ่าวไทย จนถึงปัจจุบัน ประสบการณ์ทั่วโลกในเรื่อง offshore CCS นั้นมาจากโครงการเพียง 2 โครงการในนอร์เวย์ ซึ่งประสบปัญหาที่คาดเดาไม่ได้ แม้จะมีการออกแบบที่ค่อนข้างเรียบง่ายและมีขนาดเล็ก ก็พิสูจน์ความซับซ้อนของ offshore CCS และทำให้เกิดความกังวลอย่างจริงจังถึงโครงการ CCS ที่มีขนาดและขอบเขตที่ใหญ่ขึ้น
-
ภาคประชาชนเดินหน้ายื่นร่างกฎหมายโลกเดือด “กฎหมายที่ต้องมีจิตวิญญาณของสิทธิมนุษยชน” (ตอนที่ 2)
ใจความสำคัญของกฎหมายฉบับนี้คือการรวบรวมจิตวิญญาณของความห่วงใยการอยู่รอดของทุกชีวิตบนโลกใบนี้ที่ไม่ใช่แค่มนุษย์แต่รวมถึงธรรมชาติ สรรพชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งมันหมายถึงจิตวิญญาณของโลกทั้งมวล และจิตวิญญาณที่รัฐและภาคธุรกิจต้องมีต่อสังคม ที่จะปกป้องสิทธิของประชาชนทำให้เกิดการเคารพและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน สิทธิในชุมชน และสิ่งแวดล้อมให้เป็นคุณค่าหลักในการแก้ไขปัญหาโลกเดือดอย่างจริงจัง
-
ภาคประชาชนเดินหน้ายื่นร่างกฎหมายโลกเดือด “กฎหมายที่ต้องมีจิตวิญญาณของสิทธิมนุษยชน” (ตอนที่ 1)
วันที่ 13 มิถุนายน 2567 เครือข่ายประชาชนเพื่อความเป็นธรรมด้านสภาพภูมิอากาศกว่า 23 องค์กรร่วมแถลงข่าวเตรียมยื่นเสนอร่างกฎหมายโลกเดือด!!! เพื่อยับยั้งทุนนิยมสีเขียว ภายใต้พระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เป็นธรรมและยั่งยืน (ฉบับประชาชน)
-
เราต้องการความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศอย่างเร่งด่วน !
ปี 2566 ที่ผ่านมาถือเป็นปีที่ทั่วโลกพูดถึงประเด็นการขับเคลื่อนเรื่อง ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ มากขึ้น โดยมีจำนวนคดีการฟ้องร้องเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวเกิดเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเราจะมาวิเคราะห์กันว่าเป็นเพราะอะไร
-
แนวปะการังเกรท แบริเออร์ เผชิญกับเหตุการณ์การฟอกขาวขนาดใหญ่ครั้งที่ 7 ส่งคำเตือนที่สิ้นหวังในการยุติยุคเชื้อเพลิงฟอสซิล
หน่วยงานอุทยานทางทะเล Great Barrier Reef ยืนยันอย่างเป็นทางการในวันนี้ว่า สิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกนี้ถูกคุกคามจากเหตุการณ์ฟอกขาวครั้งที่ 7 โดยในช่วงเวลา 8 ปี ที่ผ่านมา ได้เกิดการฟอกขาวขนาดใหญ่ไปแล้ว 5 ครั้ง
-
สมัย พันธโครตร : พลังหญิงกับการปกป้องผืนป่าจากการแย่งยึดของรัฐโดยอ้างนโยบาย BCG
‘สมัย พันธโครตร’ คือนักปกป้องสิทธิมนุษยชนหญิงจากกลุ่มอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลายที่สูญเสียที่ดินไปกว่า 21 ไร่ เธอเปิดเผยว่าเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามายึดพื้นที่พร้อมอาวุธติดตัว รื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ตัดต้นยางพารา มันสำปะหลัง ผู้ใหญ่บ้านประกาศเสียงตามสายห้ามเข้าพื้นที่ หากถูกจับกุมจะไม่รับผิดชอบ
-
BCG และการชดเชยคาร์บอนด้วยป่าไม้: นโยบายโลกร้อนเพื่อใคร?
ส่วนหนึ่งของงานนิทรรศการ BCG แย่งยึดอะไรที่คำป่าหลาย: นโยบายฟอกเขียวในนามความยั่งยืน หรือการแย่งยึดแผ่นดินราษฎร คือเวทีเสวนาที่ชวนตัวแทนจากพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล พรรคการเมืองฝ่ายค้าน ตัวแทนชุมชนผู้ได้รับผลกระทบ และนักวิชาการ มาร่วมกันถกในประเด็นโมเดลเศรษฐกิจ BCG ที่มาพร้อมกับกลไกตลาดคาร์บอน (Carbon Market) ที่เอื้อให้บริษัทอุตสาหกรรมซื้อขายคาร์บอนเครดิตจากป่าไม้ได้ แต่ข้อกังวลของชุมชนผู้ได้รับผลกระทบและภาคประชาสังคมคือ การลิดรอนสิทธิมนุษยชนอันเกิดมาจากการแย่งยึดที่ดิน
-
เปิดข้อมูลวิจัย ‘นโยบายทวงคืนผืนป่า’ นำชุมชนไปสู่ ‘ความยากจนฉับพลัน’
เป็นระยะเวลากว่า 9 ปีที่เราได้ยินคำว่า ‘นโยบายทวงคืนผืนป่า’ ซึ่งประกาศใช้โดยรัฐบาลทหาร คสช. ผ่านการนำเสนอในสื่อต่าง ๆ แต่เคยทราบหรือไม่ว่าเบื้องหลังการ ‘ทวงคืน’ นี้เกิดผลกระทบอะไรบ้างนอกจากรัฐได้ผืนป่าคืน ?
-
งานวิจัยโดยกลุ่มราษฎรอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลายระบุนโยบายป่าไม้ในยุคคสช.และโมเดลเศรษฐกิจ BCG เป็นข้ออ้างเพื่อปิดล้อมและแย่งยึดที่ดิน – พื้นที่ป่าของชุมชน ก่อให้เกิดสภาวะความยากจนฉับพลันและเรื้อรังข้ามรุ่น
งานวิจัยโดยกลุ่มราษฎรอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลาย ระบุนโยบายป่าไม้ในยุคคสช.และโมเดลเศรษฐกิจ BCG เป็นข้ออ้างเพื่อปิดล้อมและแย่งยึดที่ดิน - พื้นที่ป่าของชุมชน ก่อให้เกิดสภาวะความยากจนฉับพลันและเรื้อรังข้ามรุ่น