All articles
-
“มีกิน มีใช้ มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี”: ประชาชนอยู่ตรงไหนในนโยบายของแพทองธารด้านปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
บทความนี้นำเสนอประเด็นที่รัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร ไม่ได้ระบุในคำแถลงนโยบายต่อการแก้ปัญหาฝุ่นพิษข้ามแดน ซึ่งนอกจากจะไม่นำไปสู่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุอย่างแท้จริงแล้ว อาจซ้ำเติมปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบันอีกด้วย
-
อุบัติภัยอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่มาบตาพุดครั้งล่าสุดย้ำถึงความจำเป็นของสนธิสัญญาพลาสติกโลกในการลดการผลิตพลาสติกเพื่อปกป้องสภาพภูมิอากาศและยุติสารเคมีเป็นพิษเพื่อคุ้มครองสุขภาพของมนุษย์
ความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากมลพิษอุตสาหกรรมพลาสติกนั้นแตกต่างกันไป คนส่วนใหญ่ทั่วโลกจะรับสัมผัสอนุภาคพลาสติกและสารเคมีที่เกี่ยวข้องในหลายขั้นตอนของวงจรชีวิตของพลาสติก ในที่นี้ เราจะเปิดปูมให้เห็นถึงมลพิษจากอุตสาหกรรมพลาสติกพีวีซีในประเทศไทย
-
ส่องนโยบายทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งภายใต้รัฐบาลแพทองธาร
แม้รัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร จะยอมรับว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศเป็นความท้าทายของประเทศ แต่นโยบายด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติรวมทั้งทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งยังไม่อยู่ในนโบายเร่งด่วนที่ต้องทำทันที แต่อยู่ในนโยบายระยะกลางและระยะยาว รวมทั้งยังมีความคลุมเครือและไม่สอดคล้องกันระหว่างนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
-
ระวัง! วาฬ 3 ชนิดที่อาจตกอยู่ในอันตรายหากเกิดโครงการเหมืองทะเลลึกในอาร์กติก
ขณะนี้รัฐบาลนอร์เวย์กำลังวางแผนที่จะเปิดพื้นที่หลายแห่งในทะเลนอร์วิเจียนเพื่อเริ่มทดลองโครงการสุดอันตรายนี้ แน่นอนว่าโครงการเหมืองที่จะเกิดขึ้นจะส่งผลกระทบและทำให้ระบบนิเวศในทะเลปั่นป่วน โดยเฉพาะมลพิษทางเสียงและการทำลายที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำในทะเล และหมายรวมถึงวาฬหลายชนิด มลพิษทางเสียงนั้นจะเป็นภัยคุกคามรุนแรงต่อสัตว์ที่มีความเปราะบางและอ่อนไหวต่อเสียง
-
“ฮักภาคเหนือ บ่เอาถ่านหิน” กรีนพีซ เรียกร้องให้ SCG ต้องเริ่มปลดระวางถ่านหิน
กรีนพีซ ประเทศไทยจัดงาน “ฮักภาคเหนือ บ่เอาถ่านหิน” ที่บริเวณประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อรณรงค์และสื่อสารเกี่ยวกับผลกระทบของโครงการเหมืองถ่านหินที่จะละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม รวมถึงเรียกร้องให้บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) หรือ SCG หยุดแผนการรับซื้อถ่านหินจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และยุติโครงการเหมืองถ่านหินที่อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง พร้อมต้องสื่อสารต่อสาธารณะและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชนโดยทันทีอย่างไม่มีเงื่อนไข
-
สุดช็อก! รายงานกรีนพีซ แอฟริกาเผยผลกระทบของสารพิษในกานา จากขยะสิ่งทออุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่น
รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซ แอฟริกาและกรีนพีซ เยอรมนี เปิดโปงความเสียหายด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมระดับวิกฤตในกานา โดยมีสาเหตุจากอุตสาหกรรมการซื้อขายสิ่งทอมือสองระดับโลก รายงานที่มีชื่อว่า “Fast Fashion, Slow Poison: The Toxic Textile Crisis in Ghana,” เปิดโปงผลกระทบและความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบต่อชุมชนและระบบนิเวศในกานา จากการทิ้งขยะสิ่งทอ (เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า ฯลฯ) จากกลุ่มประเทศซีกโลกเหนือ โดยส่วนใหญ่เป็นเสื้อผ้าจากอุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่น
-
ฮักภาคเหนือบ่เอาถ่านหิน
หาก SCG ยังมีส่วนเดินหน้าโครงการเหมืองถ่านหินแม่ทะและรับซื้อถ่านหินจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย การประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนและนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนทั้งหมดของ SCG ย่อมมีค่าเป็นเพียงการฟอกเขียว เป็นการลดทอนหลักการชี้แนะแห่งสหประชาชาติด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UNGP) อีกทั้งเป็นการสร้างความเข้าใจต่อนโยบายความยั่งยืนของบริษัทที่ไม่ครบถ้วนต่อทั้งผู้บริโภค ผู้ถือหุ้นของบริษัท และประชาชน
-
บทวิเคราะห์ SCG กับความรับผิดชอบต่อสังคมที่มิอาจปฏิเสธได้
หาก SCG ยังมีส่วนเดินหน้าโครงการเหมืองถ่านหินแม่ทะและรับซื้อถ่านหินจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย การประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนและนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนทั้งหมดของ SCG ย่อมมีค่าเป็นเพียงการฟอกเขียว เป็นการลดทอนหลักปฏิบัติสากลด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567
check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด
-
6 ข้อสุดช็อก ที่เรายังไม่รู้เกี่ยวกับเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว
เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วเป็นสัญญาณเตือนที่ชัดเจนว่ากำลังคุกคามชีวิตของเราอย่างรุนแรง และชุมชนที่ได้รับผลกระทบต้องพร้อมที่จะเผชิญและรับมือกับความเสียหายเหล่านี้